Five people are known to be dead and at least 12 injured following a powerful explosion Sunday at a natural gas plant under construction in Middletown, Conn., the mayor's office said.
Middletown deputy fire marshal Al Santostefano said crews were still searching the rubble for survivors of the explosion, which happened at 11:17 a.m. ET.
"They are taking the building apart piece by piece now, the part that collapsed and came in, they are taking that apart in sections piece by piece, very carefully," Santostefano said.
Mayor Sebastian Giuliano said it's difficult to tell how many people were in the power plant at the time of the blast because multiple contractors were working on it and had their own employee lists.
Santostefano, deputy fire marshal for Middletown, Conn., speaks to reporters on Sunday. (CBC)Officials had said earlier that 50 construction workers were in the section of the plant where the explosion happened.
Santostefano said he didn't know what caused the blast, which shook houses up to 16 kilometres away.
The 620-megawatt plant was being built to produce energy, primarily using natural gas. Santostefano said workers were purging the gas lines, a procedure he called a "blow-down," when the explosion occurred.
Middlesex Hospital spokesman Brian Albert said one seriously injured person was transferred to Hartford Hospital and doctors were evaluating another person who might also be moved to Hartford for more intensive care.
Two people were treated and released, and eight others were being treated for broken bones, abdominal injuries, blunt-force trauma and other kinds of injuries consistent with being caught in an explosion, Albert said.
Hartford Hospital said two patients were brought directly there after the blast, in addition to the one transferred later from Middlesex.
Officials had not released the conditions of the injured people by Sunday evening, although they said at least a dozen people had injuries ranging from minor to very serious.
Connecticut Gov. M. Jodi Rell visited the scene after calling out a specialized search-and-rescue team to help firefighters.
The state's Emergency Operations Center in Hartford also was activated, and the Department of Public Health was called to provide tents at the scene for shelter and medical triage.
Rell said the emergency teams were expected to work through the night and into Monday.
The U.S. Chemical Safety Board is mobilizing an investigation team from Colorado and hopes to have the workers on the scene Monday, spokesman Daniel Horowitz said.
Safety board investigators have done extensive work on the issue of gas line purging since an explosion last year at a factory in North Carolina killed four people.
Just last week, the board voted to recommend that national and international code writers strengthen their guidelines to require outdoor venting of gas lines or an approved safety plan to do it indoors.
Read more: http://www.cbc.ca/world/story/2010/02/07/connecticut-explosion.html#ixzz0f0DfxXBD
LPG กับความปลอดภัยในการทำงาน
หลักการทำงานเพื่อให้เกิดความปลอดภัยนั้น ไม่ว่าจะเป็นการทำงานทั่วไป หรือการทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมก็ตาม และไม่ว่าจะเป็นงานง่ายๆหรืองานยากๆ งานหนักหรืองานเบา รวมไปถึงงานที่มีความเสี่ยงเล็กน้อยหรือมีความเสี่ยงสูงหลักการสำคัญเพื่อ ให้เกิดความปลอดภัยนั้น ก่อนที่เราจะเริ่มปฎิบัติงาน เราจะต้องศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกับงานที่จะต้องทำด้วย ไม่ว่าจะเป็นการทำงานกับ เครื่องจักร อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ สารเคมี หรือวัตถุอันตราย เป็นต้น
เราจะต้องศึกษาลักษณะ สมบัติ ข้อดี ข้อเสีย ประโยชน์ วิธีการปฏิบัติงาน การบำรุงรักษา การตรวจสอบ ข้อบังคับ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และสิ่งที่อาจก่อให้เกิดอันตรายที่แอบแผงอยู่ให้ดีเสียก่อน รวมไปถึงการประเมินความเสี่ยง และการหามาตรการป้องกัน เพื่อหลีกเลี่ยงอันตราย และสิ่งที่เราไม่พึงประสงค์ให้เกิดขึ้น
ดังเช่นการทำงานกับ แอลพีจีในโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ หรือการใช้ก๊าซแอลพีจีตามบ้านเรือนซึ่งมีใช้อยู่เกือบทุกครัวเรือน เปรียบเสมือนการมีระเบิดเวลา ตั้งอยู่ใกล้ๆ ตัวซึ่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ทรัพย์สิน ชุมชน และสิ่งแวดล้อมขึ้มาได้ทุกขณะถ้าเราไม่รู้จักมันดีพอ
ก๊าซแอลพีจี คืออะไร?
ก๊าซแอลพีจี (Liquefied Petroleum Gas : LPG) หรือที่เรียกกันว่า "ก๊าซหุงต้ม" ซึ่งประกอบด้วยก๊าซโพเพน (Propance : C3H8) ผสมกับบิวเทน (Butane : C4H10) ในอัตราส่วนที่พอเหมาะ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการกลั่นน้ำมันดิบของโรงกลั่นหรือจากกระบวนการแยกก๊าซธรรมชาติ ของโรงแยกก๊าซ โดยก๊าซแอลพีจีจะถูกนำมาอัดให้เป็นของเหลวบรรจุในถังภายใต้ความดัน หรือที่เรียกว่าก๊าซเหลว หรือน้ำก๊าซ เพื่อความสะดวกในการเก็บและขนย้าย เมื่อต้องการใช้งานก็ปล่อยออกมาจากถังผ่านวาล์ว(ลดความดัน) ก๊าซเหลว หรือน้ำก๊าซก็จะกลับกลายเป็นไอก๊าซทันที
สมบัติของก๊าซแอลพีจี
ก๊าซแอลพีจีไม่มีสี ไมมีกลิ่น และไม่มีพิษ แต่ถูนำมาเติมสารให้กลิ่น เช่น เอทิลเมอร์แคพเทน (Ethyl Mercaptan) เพื่อเป็นสัญญาณเตือนว่าก๊าซเกิดการรั่วไหลออกจากถังบรรจุ
ถ้าก๊าซแอลพีจีเกิดการสันดาปไม่สมบูรณ์จะเกิดก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์ ดังนั้นถ้าเราเกิดสูดดมก๊าซเข้าไปในปริมาณมากๆ จะเป็นอันตรายต่อร่างกาย เช่น มึนงง คลื่นไส้ อาเจียน เป็นลม หมดสติ และอาจจะเป็นอันตรายถึงชีวิตเพราะร่างกายขาด ออกซิเจน
ก๊าซแอลพีจีเหลวจะขยายตัวอย่างรวดเร็ว ดังนั้นเมื่อก๊าซรั่วไหลออกมาจากถัง ก๊าซจะระเหยกลายเป็นไอและจะมีปริมาณเพิ่มขึ้นถึง 250 เท่าและจากการที่ก๊าซแอลพีจี มีสมบัติหนักกว่าอากาศถึง 2 เท่านั้น จะทำให้ก๊าซที่รั่วไหลออกมาลอยต่ำลงสู่พื้น ท่อระบายน้ำ และหลุมบ่อ เป็นต้น
ก๊าซแอลพีจีมีจุดเดือดต่ำมาก ประมาณ
ก๊าซแอลพีจีจัดเป็นก๊าซไวไฟ (Flammable Gases) ระดับ 3 และมีอันตรายต่อสุขภาพ ระดับ 3
ภาชนะบรรจุก๊าซแอลพีจี
ภาชนะบรรจุก๊าซแอลพีจี มี 6 ชนิด คือ
1. กระป๋องก๊าซ
2. ถังก๊าซหุงต้ม
3. ถังก๊าซรถยนต์
4. ถังก๊าซเรือยนต์
5. ถังเก็บและจ่ายก๊าซ
6. ถังขนส่งก๊าซ
แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงภาชนะบรรจุก๊าซชนิดถังเก็บและจ่ายก๊าซ ที่ใช้ในอุตสาหกรรมเพียงชนิดเดียว ซึ่งต้องเป็นภาชนะที่มีขนาดและลักษณะหลักๆดังนี้
1. ใช้บรรจุก๊าซได้เกิน
2. ตัวถังที่มีรอยตะเข็บต้องเชื่อมด้วยไฟฟ้า
3. ตัวถังที่ทำด้วยเหล็กต้องมีความเค้นประลัย (Ultimate Stress) ไม่น้อยกว่า 4 เท่า ของความเค้นที่เกิดขึ้น (Allowable Stress)
4. การต่อท่อ หรืออุปกรณ์เข้ากับถัง ต้องมีลิ้นปิดเปิด ซึ่งอยู่ใกล้ถังมากที่สุด
5. ผิวนอกแบบเหนือพื้นดินต้องทาทับด้วยวัสดุป้องกันการผุกร่อน เช่น ฟลิ้นท์โค้ท หรือยางแอสฟัลท์
6. ถังแบบเหนือผิวดินต้องมีระบบท่อฉีดน้ำเหนือผิวถังเพื่อลดอุณหภูมิของถัง
วิธีปฏิบัติเมื่อก๊าซแอลพีจีรั่วไหล
1. หยุดเดินเครื่องปั๊มก๊าซ
2. ปิดวาล์วก๊าซทุกตัวทันที
3. ดับเปลวไฟบริเวณใกล้เคียง และตัดวงจรไฟฟ้าทั้งหมด
4. ห้ามกระทำการใดๆ ที่ก่อให้เกิดประกายไฟ
5. ปิดกั้นบริเวณห้ามคนหรือรถที่ไม่เกี่ยวข้อง เข้ามาในบริเวณที่มีก๊าซรั่วไหล
6. นำเครื่องดับเพลิงออกมาเตรียมพร้อม
7. แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการระงับเหตุ หรือหน่วยดับเพลิง
8. หยุดใช้ก๊าซจนกว่าจะระงับการรั่วไหลของก๊าซได้
9. ตรวจสอบว่าปริมาณก๊าซที่รั่วไหลออกมาในอากาศไม่เพียงพอที่จะติดไฟได้
การใช้ประโยชน์ของก๊าซแอลพีจี
ก๊าซแอลพีจี นอกจากจะใช้เป็นก๊าซหุงต้ม ยังใช้เป็นเชื้อเพลิงในครัวเรียน ในโรงงาน และอุตสาหกรรมต่างๆหลายประเภท
1. ใช้ในครัวเรือนใช้ในยานพาหนะ
• ประกอบอาหาร, หม้อหุงข้าว
• เครื่องทำน้ำร้อน, เครื่องปรับอากาศ
• อบเสื้อผ้าเพื่อฆ่าเชื้อโรค
2. ใช้ในยานพาหนะ
3. ด้านพาณิชยกรรม
• ภัตตราคาร, ร้านอาหาร, อุตสาหรรมอาหาร
• โรงแรม, ร้านทำขนมปัง
4. ใช้ในอุตสาหกรรม
• เครื่องปั้นดินเผา, เซรามิค, กระป๋องฉีด, เชื่อมหลอม และหล่อโลหะ, แก้ว, อาหาร
• อบสี, ผ้า, โลหะ, อุตสาหกรรมกระดาษและสิ่งพิมพ์ เป็นต้น
กฎหมาย และมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับก๊าซแอลพีจี
1. ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 28 ว่าด้วยการบรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวของกรมโยธาธิการ
2. พระราชบัญญัติน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ.2521 กระทรวงพาณิชย์
3. พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535 กระทรวงอุตสาหกรรม
4. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2543) เรื่องมาตรการการคุ้มครองความปลอดภัยในการดำเนินการ
5. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเรื่อง
• ถังก๊าซปิโตรเลียมเหลว มอก.27-2540
• กลอุปกรณ์นิรภัยแบบระบายของถังก๊าซ มอก.255-2521
• การใช้และการซ่อมบำรุงถังก๊าซปิโตรเลียมเหลว มอก.915-2532
• ถังเก็บและจ่ายก๊าซปิโตรเลียมเหลว มอก.945-2533
• ก๊าซปิโตรเลียมเหลว มอก.450-2525
ที่มา : นางสาว ปิยะพร เธียรเจริญ (สำนักเทคโนโลยีความปลอดภัย)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น