วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2553

All Investors Must Know, Maptaphut Rayong is in Unsafe Condition


All Investors Must Know, Maptaphut Rayong in Unsafe Condition

Rapid business growth and ever higher demands plus inept authorities may be the cause that PTT, a prominent energy company is neglecting safety in the construction of its facility. Commonsense tells that strong foundation is of utmost important for structural integrity. Nevertheless, PTT claims the supporting soil is strong enough that piling is exempted for its gas separation plant in Rayong. This delusion is bringing inevitable risks to all lives and environments in the vicinity.
Recent leakage of Chlorine gas from another plant at this same industrial development that injured hundreds of people was not from defaulted tank, but the collapse of the tank’s supporting foundation. Several factories with unsafe structures in the same vicinity may also become a domino effect of chain explosions, with their extensive storage of dangerous chemicals and immense amount of flammable gases. Investors should also recognize these risks that can affect economic situation of this entire area.




This warning is from civil engineers who were directly involved in construction of the new PTT’s gas separation plant. The possibility of foundation settlements may cause widespread explosions of immense amount of flammable LPG gases stored at this plant. Damages from explosion are expected to reach most or all industrial estates in the Maptaphut vicinity.
Since December last year 2009, a group of civil engineers who constructed the PTT Plants in Maptaphut and provided of the Settlement of Shallow Foundation Case Study for 3 PTT Construction Plant Projects in Maptaphut, there are consisting of PTT-Phenol Plant and 2 PTT- Gas Separation Plant (GSP-6 & ESP). This case Study had submitted to Mr.Prasert Boonsumpun on 19 December 2009, Mr. Abhisit PM on 16 January 2010 and 2 times for Administration Court on 22 February 2010 and submitted as a accusation on 27 May 2010. Andalso they sent it to the Engineering Institute of Thailand on 9 April 2010. It is no sound from all concerned authorities.
Explanation for PTT's Soil Bearing : In the construction phase, no Site or QA/QC Engineers have been known about the soil bearing capacity in design phase which they were higher than other factory 3 times. 90 ton/m2 of Soil Bearing was the base of Ultimated Design for all extra foundation, pipe rack 21-24 m. high, pressurize tower 40 m. high (equivalent to ten story building). The 90 ton/m2 was refered to random soil test report but all construction engineers had been never known. The diff. settlement of any structure was specified 10 to 15 mm only.
จากความเร่งรัดด้านธุรกิจ การเจริญเติบโตของบริษัทพลังงานไทย และความต้องการใช้พลังงานที่สูงขึ้น อาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ ภาคอุตสาหกรรมหลงลืม ความปลอดภัยในการก่อสร้าง และความสำคัญหลักด้านความมั่นคงและตั้งอยู่ได้ของโครงสร้างคือความมั่นคงแข็งแรงของฐานราก โดยเสาเข็มเป็นองค์ประกอบสำคัญที่จะทำให้ฐานรากมั่นคง การที่ภาคอุตสาหกรรมอ้างว่าดินมีความแข็งแรงมากจนไม่ต้องพึ่งพาเสาเข็มนั้น กลับกลายเป็นเรื่องที่ไม่ปลอดภัยกับทุกชีวิตและสภาวะแวดล้อมอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ จากตัวอย่างที่เพิ่งเกิดขึ้นกับโรงงานที่ปล่อยให้เกิดก๊าซคลอรีนรั่วไหล มันไม่ใช่รั่วไหล แต่มันเกิดจากการทรุดพังของฐานถังเก็บคลอรีน จนมีผู้เจ็บป่วยหลายร้อยคน มีหลายภาคส่วนของประเทศนี้ กำลังทำเรื่องผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ซึ่งมาจากปัญหาทั่วไปของขบวนการในการดำเนินการของโรงงาน ซึ่งเป็นเรื่องภาวะทั่วไปของการปล่อยของเสียที่ปนเปื้อน หลายส่วนอาจละเลยด้านความแข็งแรงของโรงงานไป ในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อแผ่นดินไหว ถ้าเรานึกถึงภาพตึกพังถล่มได้ ต้องย้อนกลับมามองถ้าโรงงานถล่ม เพราะไม่แข็งแรงล่ะ อะไรจะเกิดขึ้น ถ้าเป็นโรงงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย หรือก๊าซไวไฟ และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง แต่ละโรงงานย่อมมีคลังสารเคมีอันตรายและก๊าซไวไฟจำนวนมหาศาล ...
เรื่องสถานะความไม่ปลอดภัย เป็นเรื่องที่ประชาชน หรือชุมชนจะต้องรับรู้เท่านั้นหรือ ความจริงแล้วโรงงานต่างๆ ที่อยู่ใกล้เคียงติดต่อกัน หรืออยู่ในรัศมีความเสี่ยงเมื่อเกิดเหตุจำเป็นที่จะต้องรับรู้ด้วย เพราะโรงงานแต่ละแห่งย่อมมีสถานะในการเกิดเหตุซ้ำ เช่นการระเบิดจนลุกลามต่อเนื่องกัน แบบโดมิโน ...
ผู้มาลงทุน กลุ่มทุน นักลงทุน ต้องรับรู้หรือไม่ เป็นเรื่องที่จำเป็นที่ต้องรับรู้ เพราะนอกจากความเสี่ยงในสถานที่เกิดเหตุแล้ว ยังมีความเสี่ยงต่อสภาวะเศรษฐกิจ ถ้าในบริเวณนั้นๆ มีอิทธิพลต่อสภาวะของการลงทุนหรือเศรษฐกิจ เพราะถ้าเกิดเหตุแล้วจะทำให้เศรษฐกิจมีปัญหาด้วย ...
และทั้งหมดที่กล่าวมานี้ มันไม่ใช่แค่เรื่อง EIA หรือ HIA หรือ ต้องทำให้ถูกต้องตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ เท่านั้น ขอให้จำลองเหตุการณ์ และ ใช้คำว่า ถ้า ... แล้วผลที่ตามมาคือ ... มาถึงตรงนี้แล้ว ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องควรจะทำอะไร หรือจะดันทุรังเสี่ยง ทั้งๆที่ความเสี่ยงสูงมากนี้ เป็นการเตือนจากวิศวกรโยธา ที่ทำงานฐานรากให้ โรงแยกก๊าซใหม่ ของ ปตท. ที่ท้วงติงถึงความไม่ปลอดภัย อาจทรุดพัง จนเกิดเหตุระเบิดลุกลามรุนแรง เพราะมีคลังก๊าซแอลพีจี จำนวนมหาศาล รัศมีทำลายล้างครอบคลุม นิคมอุตสาหกรรมต่างๆ ในมาบตาพุดทั้งหมด
อ้างถึง การปกปิดข้อมูลความแข็งแรงของดิน ที่ใช้ในการออกแบบฐานราก แบบรับน้ำหนักประลัยสูงถึง 90 ตัน/ม2 (หมายถึง ถ้าสร้างถังเก็บน้ำ จะสร้างได้สูงถึง 90 เมตร หรือเทียบเท่าตึกสูง 25 ชั้น โดยไม่ต้องตอกเสาเข็ม แล้วดินจะทรุดตัวลง ประมาณ 1 นิ้ว) ไม่มีวิศวกรสนามที่ก่อสร้างฐานรากต่างๆ ในโรงแยกก๊าซ ใหม่ ของ ปตท. รู้ข้อมูล ซึ่งเป็นส่วนที่จะต้อง ควบคุมการก่อสร้างให้ได้ถูกต้องกับ สมมุติฐานในการออกแบบ ตรงนี้ที่บอกว่า ทำไมจึง มีความเสี่ยงสูงมาก
ทำไมต้องมีรูปอธิบาย เพราะมันเคยเกิดขึ้นจริง และนับวันจะเกิดบ่อยครั้งขึ้น เพราะความมักง่าย และความไม่สนใจกับเหตุที่อาจจะเกิด จนเกิดความเสียหาย

เหตุไฟไหม้ในโรงงานอาจจะเกิดจากจุดเล็กๆ บางพื้นที่ก่อนที่จะลุกลาม


จากจุดเล็กๆ ที่เกิดเหตุ จนไฟไหม้ระเบิดเสียหายทั้งหมด
มันเกิดบ่อยครั้ง กับโรงงานสารเคมีและก๊าซ
ภาพแสดงถึงความเสียหายทั้งหมด ไม่ใช่เฉพาะบางส่วน


และถ้าการระเบิดลุกลามไปยังคลังก๊าซคลังสารเคมี
แท่นเจาะน้ำมัน ของ ปตท. ที่ไฟไหม้ระเบิดในทะเลติมอร์
ทั้งๆที่รู้ล่วงหน้านานถึง 2 เดือนกว่า

ภาพการระเบิดของโรงงานก๊าซในเม็กซิโก ที่เสียหายทั้งหมด

และปริมาณก๊าซแอลพีจี ในคลังก๊าซ ปตท. มากกว่าถึง 7 เท่า


ถ้าโรงแยกก๊าซ ปตท. ไม่อยู่ติดตลาด-ชุมชน-โรงงานอื่นๆอีกจำนวนมาก
เรื่องนี้ จะไม่มีใครใส่ใจเหมือนแท่นเจาะ ปตท. ที่ระเบิดกลางทะเล
แต่ตรงนี้ ... ที่มาบตาพุด มีคนเป็นแสนโรงงานเกือบร้อย ที่จะมีผลกระทบ
เรื่องนี้ ที่ทำให้ผู้คนหวาดผวา หวั่นวิตก ขัวญแขวน ทุกครั้งที่มีฝนตกพายุลมแรง

เรื่องส่งไปยังศาลปกครองให้เร่งรัดไต่สวน ล่วงมานานเกือบ 2 เดือนครึ่ง
ทุกอย่างยังคงเงียบหาย เช่น นายก รมต. รับรู้เรื่องนี้มานานกว่า 7 เดือน


Download : ACCUSATION - คำฟ้อง/คำขอให้ไต่สวนฉุกเฉิน/คำชี้แจงเพิ่มเติม
  • คำฟ้อง : www.boonchoo.org/court2/F-AC-PTT.rar

1 ความคิดเห็น:

  1. สู้ๆๆครับพี่น้องทุกคน ขอเป็นแรงใจแรงกายต่อต้านภัยจากโรงแยกก๊าซ มาบตาพุต ระยอง ครับ

    ตอบลบ