ยากมาก!!! แต่อยากลอง ของซ้ายตะกายขอบ ลองไปลองมา อาจตกเป็นเหยื่อกลุ่มทุน-นักอุตสาหกรรมที่อยากฉีกรัฐธรรมนูญ ปี 2550 อยู่ทุกวัน เพราะขวางทางโต!!!
มาตรา 67 วรรค 2 เป็นไปไม่ได้โดยการแก้ไข-ตัดออก แต่ต้องฉีกทิ้งทั้งฉบับ – เชื่อได้ว่า อาจเห็นแบบนั้น ในไม่ช้า ยิ่งรีรอชาติยิ่งเสียหายมาก ... แต่ใครล่ะจะทำ
“สถานการณ์ปฏิวัติ” ของมวลชน เพื่อมุ่งสู่การเปลี่ยนแปลงสังคม โดยสถานการณ์ดังกล่าว ย่อมมีความแตกต่างเป็นอย่างมากกับการเคลื่อนไหวเพื่อการยึดอำนาจของกลุ่มทหาร / การล้มล้างระบอบการปกครองโดยคนกลุ่มเล็ก ๆ ที่ใช้วิธีก่อการร้าย / การใช้มหาประชาชนเดินกดดัน
ดังนั้นการอธิบายเหตุการณ์ดังกล่าวจึงมีความสำคัญ และการที่จะชี้ให้เห็นถึงรูปธรรมแบบหนึ่งของการปฏิวัติรัสเซีย เมื่อปี 1917 โดยเฉพาะข้อคิดเห็นของเลนิน จึงเป็นกรณีที่ควรศึกษาและเป็นบทเรียนที่ควรนำมาทบทวน กล่าวคือ เมื่ออธิบายถึงสถานการณ์ปฏิวัติ จากการเคลื่อนไหวของพลังมวลชนในชนชั้นต่างๆ ย่อมมีมุมมองอันหลากหลาย แต่ถ้ามองจากสายตาของเลนินในฐานะผู้นำของพรรคบอลเชวิค ซึ่งเลนินได้ให้ข้อสังเกตุเกี่ยวกับกฎพื้นฐานทั่วไปของการปฏิวัติโดยมวลชนไว้ ดังนี้
1) การจะก่อการปฏิวัติ มวลชนผู้ถูกกดขี่ต้องรู้สึกว่าไม่สามารถใช้ชีวิตในรูปแบบการปกครองแบบเดิม และเรียกร้องให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนั้นยังไม่พอ
2) เมื่อมวลชนชนชั้นล่าง ไม่ยอมใช้ชีวิตในรูปแบบการปกครองแบบเดิม ชนชั้นบนก็ไม่สามารถใช้ปกครองแบบเดิมได้อีก
โดยทั้ง 2 ข้อดังกล่าว ต้องประกอบเข้ากับ
3) วิกฤติที่มีลักษณะทั่วประเทศ ซึ่งสะเทือนทั้งมวลชนชั้นล่างและผู้ปกครอง
ปัจจัยทั้ง 3 ย่อมนำไปสู่สถานการณ์ปฏิวัติ ทั้งนี้เลนินในฐานะผู้มีบทบาทนำในพรรคบอลเชวิค เน้นทำให้มวลชนมีความตื่นตัวในการเคลื่อนไหวทางการเมือง ให้มีความรับรู้ถึงความจำเป็น และความพร้อมเสียสละในสถานการณ์ดังกล่าว โดยทำให้ชนชั้นปกครองหรือรัฐบาลวิกฤติ เพื่อจะช่วยดึงเอามวลชนจากส่วนต่างๆ เข้ามาร่วมเคลื่อนไหวในทางการเมือง อันเป็นการบั่นทอนกำลังของรัฐบาล ซึ่งเป็นเหตุและเงื่อนไขให้การเคลื่อนไหวทางการเมืองของมวลชนมีความเป็นไปได้ในการปฏิวัติ
ถ้าจะกล่าวจากมุมมองชนชั้น เลนินยังได้ให้ข้อสรุป และการอธิบายเพิ่มเติมไว้ อีกแบบหนึ่งว่า
1) พลังของชนชั้นที่เป็นศัตรูกับชนชั้นล่างต้องเกิดความวุ่นวาย และเข้าต่อสู้กันทางการเมืองอย่างรุนแรง จนอ่อนแอลง
2) ต้องทำให้พวกเป็นกลางที่ยังลังเล ให้เกิดความล้มเหลวในการปฏิบัติงานทางการเมืองต่อหน้าประชาชน
3) ทั้งนี้มวลชนที่สนับสนุนการปฏิวัติได้ออกมาเคลื่อนไหวอย่างเด็ดเดี่ยว กล้าหาญ เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างมากมาย ในสถานการณ์แบบนี้ เลนินถือว่าสถานการณ์ปฏิวัติ จึงนับได้ว่าสุกงอมแล้ว ซึ่งทั้งหมดนี้ ก็เหลือแต่เพียงการเลือกโอกาสที่มีหลักประกันในชัยชนะของพลังในฝ่ายปฏิวัติเท่านั้น
สำหรับข้อสรุปดังกล่าวของเลนิน ในการปฏิวัติรัสเซีย เมื่อปี 1917 นั้น เลนินได้เขียนไว้ในหนังสือ “โรคไร้เดียงสา ฝ่ายซ้าย ในขบวนการคอมมิวนิสต์”
มาตรา 67 วรรค 2 เป็นไปไม่ได้โดยการแก้ไข-ตัดออก แต่ต้องฉีกทิ้งทั้งฉบับ – เชื่อได้ว่า อาจเห็นแบบนั้น ในไม่ช้า ยิ่งรีรอชาติยิ่งเสียหายมาก ... แต่ใครล่ะจะทำ
“สถานการณ์ปฏิวัติ” ของมวลชน เพื่อมุ่งสู่การเปลี่ยนแปลงสังคม โดยสถานการณ์ดังกล่าว ย่อมมีความแตกต่างเป็นอย่างมากกับการเคลื่อนไหวเพื่อการยึดอำนาจของกลุ่มทหาร / การล้มล้างระบอบการปกครองโดยคนกลุ่มเล็ก ๆ ที่ใช้วิธีก่อการร้าย / การใช้มหาประชาชนเดินกดดัน
ดังนั้นการอธิบายเหตุการณ์ดังกล่าวจึงมีความสำคัญ และการที่จะชี้ให้เห็นถึงรูปธรรมแบบหนึ่งของการปฏิวัติรัสเซีย เมื่อปี 1917 โดยเฉพาะข้อคิดเห็นของเลนิน จึงเป็นกรณีที่ควรศึกษาและเป็นบทเรียนที่ควรนำมาทบทวน กล่าวคือ เมื่ออธิบายถึงสถานการณ์ปฏิวัติ จากการเคลื่อนไหวของพลังมวลชนในชนชั้นต่างๆ ย่อมมีมุมมองอันหลากหลาย แต่ถ้ามองจากสายตาของเลนินในฐานะผู้นำของพรรคบอลเชวิค ซึ่งเลนินได้ให้ข้อสังเกตุเกี่ยวกับกฎพื้นฐานทั่วไปของการปฏิวัติโดยมวลชนไว้ ดังนี้
1) การจะก่อการปฏิวัติ มวลชนผู้ถูกกดขี่ต้องรู้สึกว่าไม่สามารถใช้ชีวิตในรูปแบบการปกครองแบบเดิม และเรียกร้องให้เกิดการเปลี่ยนแปลงนั้นยังไม่พอ
2) เมื่อมวลชนชนชั้นล่าง ไม่ยอมใช้ชีวิตในรูปแบบการปกครองแบบเดิม ชนชั้นบนก็ไม่สามารถใช้ปกครองแบบเดิมได้อีก
โดยทั้ง 2 ข้อดังกล่าว ต้องประกอบเข้ากับ
3) วิกฤติที่มีลักษณะทั่วประเทศ ซึ่งสะเทือนทั้งมวลชนชั้นล่างและผู้ปกครอง
ปัจจัยทั้ง 3 ย่อมนำไปสู่สถานการณ์ปฏิวัติ ทั้งนี้เลนินในฐานะผู้มีบทบาทนำในพรรคบอลเชวิค เน้นทำให้มวลชนมีความตื่นตัวในการเคลื่อนไหวทางการเมือง ให้มีความรับรู้ถึงความจำเป็น และความพร้อมเสียสละในสถานการณ์ดังกล่าว โดยทำให้ชนชั้นปกครองหรือรัฐบาลวิกฤติ เพื่อจะช่วยดึงเอามวลชนจากส่วนต่างๆ เข้ามาร่วมเคลื่อนไหวในทางการเมือง อันเป็นการบั่นทอนกำลังของรัฐบาล ซึ่งเป็นเหตุและเงื่อนไขให้การเคลื่อนไหวทางการเมืองของมวลชนมีความเป็นไปได้ในการปฏิวัติ
ถ้าจะกล่าวจากมุมมองชนชั้น เลนินยังได้ให้ข้อสรุป และการอธิบายเพิ่มเติมไว้ อีกแบบหนึ่งว่า
1) พลังของชนชั้นที่เป็นศัตรูกับชนชั้นล่างต้องเกิดความวุ่นวาย และเข้าต่อสู้กันทางการเมืองอย่างรุนแรง จนอ่อนแอลง
2) ต้องทำให้พวกเป็นกลางที่ยังลังเล ให้เกิดความล้มเหลวในการปฏิบัติงานทางการเมืองต่อหน้าประชาชน
3) ทั้งนี้มวลชนที่สนับสนุนการปฏิวัติได้ออกมาเคลื่อนไหวอย่างเด็ดเดี่ยว กล้าหาญ เพิ่มจำนวนขึ้นอย่างมากมาย ในสถานการณ์แบบนี้ เลนินถือว่าสถานการณ์ปฏิวัติ จึงนับได้ว่าสุกงอมแล้ว ซึ่งทั้งหมดนี้ ก็เหลือแต่เพียงการเลือกโอกาสที่มีหลักประกันในชัยชนะของพลังในฝ่ายปฏิวัติเท่านั้น
สำหรับข้อสรุปดังกล่าวของเลนิน ในการปฏิวัติรัสเซีย เมื่อปี 1917 นั้น เลนินได้เขียนไว้ในหนังสือ “โรคไร้เดียงสา ฝ่ายซ้าย ในขบวนการคอมมิวนิสต์”
ความวุ่นวายของประเทศขณะนี้ เป็นได้แค่สถานการณ์รัฐประหาร เท่านั้น!!!
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น